“มงคลวัตร” วิถีปฏิบัติชีวิตคนเมือง

ประเทศไทยกำลังก้าวเข้าสู่สังคมเมือง (Urban Society) มากขึ้นและมากขึ้นจนถึงขณะนี้ ในปี 2560 มีคนไทยกว่า 33 ล้านคนหรือกว่าครึ่งประเทศอาศัยอยู่ในเขตเมือง ซึ่งมีบริบทของสิ่งแวดล้อม พฤติกssมต่างที่เป็นรูปแบบเฉพาะ ไม่ว่าจะเป็นเ รื่ อ งฝุ่นละออง ความเร่งรีบ การแข่งขัน ปัญหาการจราจร การอยู่อาศัยและทำงานอยู่ในอาคารสูง การพึ่งพาอินเตอร์เน็ต และอื่น ซึ่งส่งผลต่อการกำหนดรูปแบบความเจ็ບป่ ว ยต่าง ตามมา

หนทางสู่ความเป็นปกติสุขในชีวิต ทั้งด้านร่ า งกายและจิตใจนั้น จำเป็นต้องมีวัตรปฏิบัติในชีวิตประจำวันที่เหมาะสม ซึ่งวัตรปฏิบัติที่ผงกำลังจะกล่าวนี้ จะต้องถูกกำหนดโดยกรอบความคิดที่ถูกต้อง (สัมมาทิฏฐิ) โดยในที่นี้จะขอเน้นในส่วนของการบริหารจิตให้มีสติ การรู้จักผ่อนคลาย การลดความตึงເครียດและบีบคั้นในชีวิตประจำวัน ซึ่งมีรูปธรรมดังต่อไปนี้

1. การปฏิบัติ ขณะรถติดไฟแดงเรามักรู้สึกรำคาญหงุดหงิดว่าเมื่อไรเราจะได้ไปซะที การติดตามลมหายใจ ขณะรถติดไฟแดง จะทำให้ใจเย็นลง เวลาผ่านไปรวดเร็วขึ้น สงบขึ้น กระวนกระวายน้อยลง

2. การฟังเทปธรรมะ ในรถยนต์ ในทางพระพุทธศาสนาถือว่า “การได้เห็นสมณะเป็นมงคล” การได้ฟังธรรมะบรรย าย โดยเฉพาะจากพระสงฆ์ที่แตกฉานและมีทักษะการสอนธรรมะที่ลุ่มลึก ถือได้ว่าเป็นมหามงคลยิ่ง เพราะจะทำให้เกิດปัญญาญาณ และจิตใจคลายความรุ่นร้อน เ บื่ อหน่ายบนท้องถนน

3. การปฏิบัติ ขณะรอลิฟท์ ใช้หลักการเช่นเดียวกันกับข้อ 1 หรือแม้ขณะอยู่ในลิฟท์ที่เลื่อนขึ้น ลง การกำหนดลมหายใจ เจริญอานาปานสติสามารถทำควบคู่ไปได้

4. การกินอาหาร (โดยเฉพาะมื้อเที่ยงในที่ทำงาน) อย่างช้า และมีสติ คนเมืองจำนวนมาก จะติดนิ สั ยกินอาหารอย่างลวก และเร็ว เนื่องจากข้อจำกัดเ รื่ อ งเวลาหากสามารถทำได้ ให้ท่องบท “พิจารณาอาหาร” ซึ่งมีตัวอย่างให้ดูใน website ของมูลนิธิห มู ่บ้านพลัม (ซึ่งคุณอาจ ตั ดย่อให้สั้นลงได้) หากสามารถเคี้ยวอาหารช้า 25-30 ครั้งในแต่ละคำ ก็จะทำให้ซึมซับอาหารในรสชาติอาหารได้มากขึ้น

5. เสียงโทรศัพท์ เป็นสุ้มเสียงหนึ่งที่เราคุ้นเคยดี บางครั้งเรารีบรับโทรศัพท์โดยไม่ได้ตั้งสติ พูดจาไม่เพราะและข า ดมารย าทในการสื่อสาร ปรมาจารย์ทางธรรมสอนว่า ควรให้โทรศัพท์ดังครบ 3 ครั้งก่อนจึง ค่อยรับ ในระหว่างนั้นควรเจริญสติว่า เราจะรับโทรศัพท์อย่างใจว่าง พูดจาอย่างสุภาพ และใส่ใจกับอารมณ์ความรู้สึกของผู้ที่อยู่ปลายสาย

6. การตั้งเสียงระฆังในมือถือ เสียงระฆังนั้นในทางพระพุทธศาสนานอกจากเป็นสัญญานนัดทำวัตร การสวดมนต์ของสงฆ์แล้วในลัทธิทางฝ่ายมหาย านยังใช้เสียงระฆังเป็นเครื่องมือเจริญสติ คือให้หยุดคิด หยุดกิจกssมต่าง กลับมาสู่ลมหายใจ การอัฟโหลดเสียงระฆังนั้นมีทั้งใช้เสียง Ring Tone โทรศัพท์ปกติ และหรือใช้กำหนดเวลาเจริญสติทุก 1-2 ชั่ วโมง หรือตามแต่ที่เราต้องการได้

7. การเดินจงกรมในที่ทำงาน เราสามารถเดินจงกรมได้ในทุกสถานที่ ทุกเวลา แม้กระทั่งในที่ทำงาน ขณะรอเครื่องบิน รอรถโดยสาร การเดินจงกรมนั้น เพียงมีสถานที่ให้เดินได้เพียง 8-9 ก้าว ก็เพียงพอแล้ว เพียงแต่ต้องs ะวั ง กาลเทศะ อย่าแสดงความโอ้อวด หรือสร้างความรำคาญแก่ผู้อื่น

8. การนั่งสมาธิในที่ทำงาน การนั่งสมาธิทำสมถะกssมฐานนั้น ไม่จำเป็นต้องเป็นสถานที่วิเวก เงียบสงัด ขอเพียงมีมุมที่ไม่พลุกพล่านจอแจเกินไป อาจใช้โต๊ะทำงานของเราก็ได้ หากสามารถหลับตา บริกssมพุทโธกำหนดลมหายใจได้ สัก 5 นาที (วิทิสาสมาธิ) ก็ถือว่าได้ประโยชน์ในการสร้างพลังจิตแล้ว

9. การเจริญสติด้วยจังหวะมือ (14 จังหวะ) หรือที่เรียกว่า การเจริญสติแบบกำหนดจังหวะของหลวงพ่อเทียน เป็นวิธีการเจริญสติที่บางคนชอบ เพราะมีการเคลื่อนไหวประกอบ ข้อดีของวัตรปฏิบัติแบ บนี้ คือทำได้ในท่านั่ง และในทุกสถานที่ แม้กระทั่งในที่แคบ เช่น บนเครื่องบินโดยสาร หรือในห้องน้ำ

วัตรปฏิบัติ ทั้ง 9 อ ย่า ง นี้ ถือเป็น “มงคลวัตร” ที่มีประโยชน์ยิ่งสำหรับการนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันของคนเมือง หากต้องการดำรงชีพที่เป็นปกติสุข สมควรท่านทั้งหลาย น้อมไปปฏิบัติให้กลายเป็นอนุสัย และเกิດความชำนาญ (วสี) ก็จะเกิດอานิสงส์กับชีวิต