สุริยุปราคาบา งส่วน ตร งกับวันครีษมายัน กลางวันย าวนานที่สุ ดในรอ บปี

สุริยุปราคาบางส่วน ตรงกับวันครีษมายัน กลางวันย าวนานที่สุดในรอบปี

วันที่ 18 มิถุนายน 2563 เพจ NARIT สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ ได้มีการโพสต์เชิญชวน ให้ชม สุริยุปราคาบางส่วน โดยระบุว่า

21 มิถุนายนนี้ ชม สุริยุปราคาบางส่วน ใน วันครีษมายัน กลางวันย าวนานที่สุดในรอบปี

21 มิถุนายน 2563 นอกจากจะเกิດปรากฏการณ์ สุริยุปราคาบางส่วน แล้ว ยังเป็นวัน ครีษมายัน คือวันที่เวลากลางวันย าวนานที่สุดในรอบปี ๑วงอาทิตย์จะขึ้นทางทิศตะวันออกเฉียงไปทางเหนือมากที่สุด และตกทางทิศตะวันตกเฉียงไปทางเหนือมากที่สุด

สำหรับประเทศไทย วันดังกล่าว๑วงอาทิตย์จะขึ้นเวลาประมาณ 05:51 น. และจะตกลับขอบฟ้าเวลาประมาณ 18:47 น. รวมเวลาที่๑วงอาทิตย์ปรากฏอยู่บนท้องฟ้านานถึง 12 ชั่ วโมง 56 นาที ประเทศทางซีกโลกเหนือนับเป็นวันที่เข้าสู่ฤดูร้อน ส่วนประเทศทางซีกโลกใต้ช่วงกลางวันจะสั้นที่สุด นับเป็นวันที่ย่างเข้าสู่ฤดูหนาว

ในระยะเวลา 1 ปี โลกโคจรรอบ๑วงอาทิตย์ จะเกิດปรากฏการณ์สำคัญที่เกี่ยวข้องกับการขึ้น – ตก ของ๑วงอาทิตย์ทั้งหมด 4 ครั้ง ได้แก่ วันครีษมายัน วันที่กลางวันย าวนานที่สุด วันเหมายัน วันที่กลางคืนย าวนานที่สุด วันวสันตวิษุวัต และ วันศารทวิษุวัต วันที่มีกลางวันและกลางคืนย าวนานเท่ากัน

นับเป็นโอกาสดีที่จะได้ชมสุริยุปราคาบางส่วนเหนือฟ้าเมืองไทยในวันที่กลางวันย าวนานที่สุดในรอบปี สำหรับปรากฏการณ์สุริยุปราคาบางส่วน นอกจากจะสังเกตการณ์ได้เองผ่านอุปกรณ์กรองแสงอาทิตย์แล้ว ยังสามารถรับชมถ่ายทอดสดปรากฏการณ์ ผ่านทางเพจเฟซบุ๊ก NARIT สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ NARIT สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ ตั้งแต่เวลา 13:00 – 16:10 น. นะครับ

โพสต์

ที่มา NARIT สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ