รอยพระบาท ร .9 แห่งเดียวในไทย

 

รอยพระบาท ร .9 แห่งเดียวในไทย

ประวัติความเป็นมาของรอยพระบาท ในหลวง ร.9 เมื่อ ปี พ.ศ.2497 มีเหตุการณ์ก่อการร้ า ยที่เชียงราย พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย ได้ส่งผู้ก่อการจำนวนหนึ่งเข้ามาทางภาคเหนือของไทย เพื่อหาแนวร่วมพื้นฐาน ที่เป็นชาวไทยภูเขาและอาศัยอยู่บริเวณแนวชายแดน เชียงราย ,พะเย า หลังจากก็มีการปลุกระดมชาวไทยภูเขาในบางพื้นที่ประสบผลสำเร็จ ในปี พ.ศ.2507 ได้มีการเลือกแนวร่วมบางส่วนส่งไปยัง เมืองฮัวมินห์ ประเทศสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม เพื่ออบรมวิชาการเมืองและการทหารเป็นรุ่นแร โดยจะให้กลับมาเตรียมก่อการในพื้นที่ ซึ่งได้เดินทางเข้าสู่ชายแดนเชียงราย ในปี พ.ศ. 2509 เป็นการปฏิบัติหน้าที่ชี้นำการเมืองและทหาร เมื่อสามารถเพิ่มผลงานได้อย่างต่อเนื่อง เหล่าพรรคคอมมิวนิสต์จึงเปิดฉากต่อสู้ด้วยอุปกรณ์ในการก่อนเหตุกับเจ้าหน้าที่ในภาคเหนือเป็นครั้งแรก ที่ บ.น้ำปาน ต.นาไร่หลวง อ.ทุ่งช้าง จ.น่าน เมื่อวันที่ 26 ก.พ.2510 ซึ่งเรียกว่าเป็นวัน “เสียง ปืњแตก” ของพรรคคอมมิวนิสต์ของเขตภาคเหนือ และมีการต่อสู้มาเรื่อย โดยวันที่ 10 พ.ค.2510 มีการต่อสู้กับเจ้าหน้าที่ ที่ บ.ห้วยชมภู ต.ย างฮอม อ.เทิง จ.เชียงราย

ต่อมาปี พ.ศ. 2521 พรรคคอมมิวนิสต์สามารถก่อสร้างตั้งฐานที่มั่นในภาคเหนือได้ถึง 9 แห่ง และฐานที่มั่นที่สำคัญ 1 แห่งคือ “ฐานที่มั่นดอยย าว-ดอยผาหม่น” ในจ.เชียงราย พรรคคอมมิวนิสต์ได้จัดตั้งคณะทำงานโดยใช้ชื่อว่า “คณะกssมการจังหวัดเชียงราย” ซึ่งแบ่งพื้นที่ทำงานและดูแลออกเป็น 4 เขตงาน คือ เขตงาน 52 , เขตงาน 9 , เขตงาน 7 และ เขตงาน 8

สำหรับในพื้นที่ดอยย าว-ดอยผาหม่น นั้นเป็นพื้นที่เขตการดูแลของเขต ๘ ณ อ.เทิง และ อ.เชียง ของ จ.เชียงราย และยังรวมพื้นที่ของ อ.เวียงแก่น และอ.ขุนตาล ในปัจจุบันอีกด้วย กองกำลังติดอุปกรณ์ในการก่อนเหตุของพรรคคอมมิวนิสต์ในขณะนั้นมีอยู่ประมาณ 600 คน มีมวลชนซึ่งส่วนมากจะเป็นชาวเขาเผ่าม้ง อีกประมาณ 2,300 คน การปฏิบัติหน้าที่คือ ขัดขวางการทำงานของเจ้าหน้าที่รัฐในการสร้างทาง และการพัฒนาพื้นที่เพื่อสร้างความมั่นคง การสู้รบ ณ สมรภูมิแห่งนี้นั้นเกิດขึ้นครั้งแล้วครั้งเล่า เช่น ยุทธการอิทธิพลชัย หรือวีรกssมดอยม่อนเคอ, ยุทธการเกรียงไกร หรือวีรกssม ณ เนิน ๑๑๘๘ ดอยพญาพิภักดิ์ และยุทธการขุนน้ำโป่ง โดยใช้กำลังทหารในพื้นที่ จ.เชียงราย เข้ามาร่วมกวาดล้าง และปราบปรามพรรคคอมมิวนิสต์ ตามคำสั่งกองทัพภาค ๓ และกองอำนวยการรั กษ าความมั่นคงภาค ๓ ตั้งแต่ปี พ.ศ.2511 จนถึงปี พ.ศ.2525 ถึงสามารถนำชัยชนะมาสู่ประเทศ
เมื่อ ปี พ.ศ. 2525 กองพันทหารราบ 473 พ.ท.วิโรจน์ ทองมิตร เป็นผู้บังคับหน่วย ได้นำกำลังทหารเข้าปฏิบัติการพื้นที่ดอยย าว-ดอยผาหม่น ตามแผนการต่อสู้เพื่อเอาชนะพรรคคอมมิวนิสต์ จนมาสู่ยุทธการยึด เนิน 1188 บนดอยพญาพิภักดิ์

วันที่ 27 ก.พ.2525 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช,สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ , สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ และพระเจ้าวรวงค์เธอพระองค์เจ้าโสมสวลี ได้เสด็จฯ เยี่ยมเยือนทหารและราษฎร ณ ฐานปฏิบัติการ ที่ดอยพญาพิภักดิ์ บนดอยย าว เขต อ.เทิง จ.เชียงราย (ในปัจจุบันเป็นเขต อ.ขุนตาล) และในวโรกาสอันเป็นมิ่งมหามงคล พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯพระราชทาน พระองค์ได้ประทับรอยพระบาทของพระองค์เอง ลงบนแผ่นปูนปลาสเตอร์ที่ได้ตระเตรียมเอาไว้แล้ว เพื่อสร้างมิ่งขวัญและกำลังใจให้แก่ทหารกล้าและราษฎรทั้งปวง

ปัจจุบันนั้น รอยพระบาทของพ่อหลวง ร.9 ได้ถูกอัญเชิญประดิษฐาน ณ ศาลารอยพระบาท บริเวณด้านหน้า ของกองพันทหารราบ ๓ กรมทหารราบ ๑๗ เพื่อเป็นที่เคารพสักการะของทหารและราษฎรที่อยู่บริเวณนั้นอยู่คู่กับอนุสาวรีย์ผู้เสียสละ และได้เปิดสาธารณชน เย าวชนคนรุ่นหลัง รวมทั้งนักท่องเที่ยวได้เข้ามาเยี่ยมชม และตอนนี้ได้มีการสร้างศาลาเพื่อประดิษฐาน รอยพระบาทพ่อหลวง ร.9 ไว้บนดอยโหยด ค่ายเม็งรายมหาราชเสร็จเป็นเรียบร้อยแล้ว

และได้มีพิธีอัญเชิญรอยพระบาทในหลวง ร.9 ไปประดิษฐาน ณ ที่แห่งใหม่ เมื่อวันอังคารที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2552 เพื่อเฉลิมฉลองวันฉัตรมงคล