สจล. พลิกวิกฤติเป็นโอกาส ‘ยุคโควิด-19’ ระบาด เปิดคอร์ส “สอนออนไลน์” ลดควา มเสี่ยงและทันต่อสถานการณ์

สจล. พลิกวิกฤติเป็นโอกาส ‘ยุคโควิด-19’ ระบาด เปิดคอร์ส “สอนออนไลน์” ลดความ เ สี่ ย ง นักศึกษา ไม่จำกัดการเรียนรู้ ในห้องเรียน และทันต่อสถานการณ์

ยอดผู้ติดเชื้อไ ว รั ส “โควิด-19” เพิ่มขึ้นทุกวัน ส่วนหนึ่งติดเชื้อง่ายจากการรวมกลุ่มกันของคนห มู ่มากในพื้นที่คับแคบ หรือที่อากาศค่อนข้างปิด ไม่ถ่ายเท ทำให้เกิດการแพร่เชื้อโ ร คโดยไม่รู้ตัว อาทิ บริเวณสนามมวย หรือตามสถานบันเทิง พบผู้ติดเชื้อเป็นกลุ่มก้อน ดังนั้น เพื่อความปลอดภัยจึงต้องมี “ระยะห่างทางสังคม” (Social Distance) ไม่อยู่ในสถานที่แออัด พบเจอคนน้อยลง ล่าสุด คณะรัฐมนตรี ได้มีมติเมื่อวันที่ 17 มี.ค.63 ประกาศให้ปิดสถานที่มีความ เ สี่ ย ง ต่อการแพร่ระบาด เพื่อลดการทํากิจกssมร่วมกัน ได้แก่ มหาวิทย าลัย โรงเรียนนานาชาติ

สถาบันกวดวิชา ให้ทำการปิดชั่ วคราวเป็นเวลา 14 วัน นับตั้งแต่วันที่ 18 มี.ค.เป็นต้นไป และให้สถานศึกษาดําเนินการป้องกันโ ร คตามมาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุขอย่างเคร่งครัด สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.)  เป็นอีกหนึ่งสถาบันการศึกษาที่ประกาศยุติการเรียนการสอนและยกเลิกห้องเรียนไปตั้งแต่เมื่อวันที่ 14 มี.ค.63 พร้อมเปิดคลาสเรียน “สอนออนไลน์” ในทุกวิชา โดย ศาสตราจารย์ ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ อธิการบดีสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) ได้ประกาศมาตรการบริหารความ เ สี่ ย ง ท่ามกลางสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไ ว รั สโควิด-19 ดังนี้

1.การเรียนการสอนทุกรายวิชาสำหรับภาคการศึกษาที่ 2/62 ทั้งระดับปริญญาตรีและระดับบัณฑิตศึกษา นักศึกษาจะต้องได้รับองค์ความรู้ครบถ้วนตามผลสัมฤnธิ์ของรายวิชา หากมีความจำเป็นต้องสอนเพิ่มเติมสามารถดำเนินการสอนแบบออนไลน์ได้ ส่วนรายวิชาโครงงานพิเศษ วิทย านิพนธ์ ปริญญานิพนธ์ การศึกษาอิสระ สหกิจศึกษา หรือรายวิชาที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่เทียบเท่า ให้ดำเนินได้ตามความเหมาะสม

2. อาจารย์ผู้สอนดำเนินการจัดสอบเอง โดยอาจพิจารณาใช้วิธีการวัดและประเมินผลการเรียนตามที่อาจารย์ผู้สอนเห็นสมควร โดยวิธีการวัดและประเมินผลการเรียนสามารถดำเนินการในรูปแบบการทำรายงาน (Report) หรือการมอบหมายงาน (Assignment) หรือรูปแบบอื่นที่เห็นสมควร ทั้งนี้นักศึกษาจะต้องได้รับองค์ความรู้ครบถ้วนตามผลสัมฤnธิ์ของรายวิชา 3. ไม่อนุมัติให้จัดและเข้าร่วมกิจกssม โครงการ สัมมนา และการประชุมทางวิชาการทุกประเภทที่มีผู้เข้าร่วมมากกว่า 50 คนขึ้นไป ยกเว้นเป็นการดำเนินการจัดแบบออนไลน์เท่านั้น

4. ให้บุคลากรและนักศึกษาทุกคนกรอกข้อมูลประวัติการเดินทางและข้อมูลที่เกี่ยวข้องลงในแบบฟอร์มตามที่สถาบันกำหนด  5. ให้ส่วนงานวิชาการรายงานข้อมูลบุคลากรและนักศึกษาที่มีความ เ สี่ ย ง ต่อการติดโ ร คโควิด-19 มายังสถาบันในทุกวันทำการ โดยบุคลากรต้องรายงานข้อมูลถึงสำนักงานบริหารทรัพย ากรบุคคล และนักศึกษาให้รายงานข้อมูลถึงสำนักงานกิจการนักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์ 6. กรณีบุคคลภายนอกเข้า-ออกสถาบัน ให้ส่วนงานวิชาการและสำนักงานบริหารทรัพย ากรกายภาพและสิ่งแวดล้อมบันทึกภาพ

และเก็บข้อมูลตามแบบฟอร์มที่สถาบันกำหนด 7. ขอให้บุคลากรและนักศึกษาตรวจสอบการใช้งานอีเมล์ของท่านให้ใช้งานได้ปกติ เพื่อเป็นช่องทางในการติดต่อสื่อสารอย่างเป็นทางการของทางสถาบัน

ศาสตราจารย์ ดร.สุชัชวีร์ กล่าวว่า  การเรียนการสอนในรูปแบบออนไลน์เป็นเ รื่ อ งจำเป็นแล้วในสถานการณ์แบ บนี้ ซึ่งมีการแพร่ระบาดของเชื้อไ ว รั สโควิด-19  โดยที่เราสามารถลดความ เ สี่ ย ง จากการแพร่ระบาดของไ ว รั สในสถาบันการศึกษาได้ ด้วยการใช้ระบบการสอนออนไลน์เข้ามาเกี่ยวข้อง เช่น การใช้แพลตฟอร์มจัดห้องเรียนออนไลน์ Google Classroom, Microsoft Teams ซึ่งผู้สอนสามารถไลฟ์สดการสอน หรือทำกิจกssมร่วมกับนักศึกษา ได้ทุกที่ ทุกเวลา โดยไม่ต้องมารวมตัวกันจริง ซึ่งสถานการณ์แบ บนี้หากพลิกวิกฤติให้เป็นโอกาส ถือเป็นการเตรียมความพร้อมการเรียนการสอนแบบออนไลน์ในอนาคตข้างหน้า มองไปถึงระบบการศึกษาในยุคดิสรัปชั่น ที่มหาวิทย าลัยต้องเป็นศูนย์กลางในการจัดการศึกษา พัฒนาหลักสูตร ก้าวนำโลกและใช้เทคโนโลยี เพื่อช่วยให้ผู้เรียน เรียนได้ทุกที่ ทุกเวลาโดยไม่มีข้อจำกัด ไม่ว่าจะเกิດสถานการณ์ใดก็ตาม

มหาวิทย าลัยต้องพร้อมให้ความรู้ ถือเป็นเ รื่ อ งที่ดี ทางมหาวิทย าลัยจึงได้ตั้งทีมไอที ไว้คอยให้คำปรึกษา และอำนวยความสะดวกให้กับอาจารย์ผู้สอน ที่สามารถเลือกประยุกต์ใช้แพลตฟอร์มการสอนให้เหมาะสม อาทิ Facebook Broadcast, Microsoft Team, Google Classroom หรือ Moodle นอกจากนี้ สจล.ยังมีมาตรการรับมือกับการแพร่ระบาดของเชื้อ

ไ ว รั สโควิด-19 ภายในสถาบัน ได้แก่ มาตรการการทำความสะอาดอาคารเรียน, มาตรการคัดกรองนักศึกษา บุคลากร รวมทั้งบุคคลภายนอกก่อนเข้าอาคาร, มีบริการแจกเจลแอลกอฮอล์ใช้ล้างมือป้องกันเชื้อโ ร ค พร้อมทั้งจัดทำประตูสแกนอุณหภูมิติดตั้งที่คลินิกเวชกssม สจล. ด้วย

ดร.กุลชัย กุลตวนิช ผู้ช่วยคณบดีเทคโนโลยีการเกษตร สจล. กล่าวเสริมว่า ในส่วนของสาขาวิชานิเทศศาสตร์เกษตร คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล. ได้จัดการเรียนการสอนในรูปแบบคลาสเรียนออนไลน์อยู่แล้วในหลายวิชา เนื่องจากองค์ความรู้ของคณะ มุ่งเน้นการสอนที่นำเทคโนโลยีเข้ามาประยุกต์ใช้ ท่ามกลางการแพร่ระบาดของเชื้อไ ว รั สโควิด-19 ได้ทันที พร้อมเผยแพร่โมเดลคลาสเรียนออนไลน์ให้ทุกคณะในมหาวิทย าลัย รวมทั้งหน่วยงาน และภาคการศึกษาอื่น ที่สนใจนำโมเดลดังกล่าวไปประยุกต์ใช้ได้ เพื่อให้การเรียนหรือการทำงานจากที่บ้าน (work / study from home) มีประสิทธิภาพสูงสุด

ด้วยหลักการของคลาสเรียนออนไลน์คือองค์ความรู้ในการเรียนการสอนครบถ้วนเหมือนเรียนอยู่ในชั้นเรียน แต่ต้องมีความยืดหยุ่น เพื่อลดความ เ สี่ ย ง ในการพบปะกัน ซึ่งสื่อในการเรียนการสอนรูปแบบออนไลน์ที่สาขาวิชานิเทศศาสตร์เกษตร คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล. เลือกใช้คือ การถ่ายทอดสดทางเฟซบุ๊ก (Facebook broadcast) ผ่านกลุ่มปิด (Closed group) ที่ตั้งขึ้นตามรายวิชา เพื่อให้นักศึกษาสามารถย้อนกลับมาดูบันทึกวีดิโอย้อนหลัง และทบทวนบทเรียนได้ โดยแตกต่างจากการใช้เครื่องมือออนไลน์ อาทิ

Microsoft Team, Google Classroom หรือ Moodle ที่อาจต้องมีการจัดอบรม เพื่อความเข้าใจในการใช้เครื่องมือ

นอกจากนี้ การถ่ายทอดสดผ่านเฟซบุ๊ก ยังมีฟังก์ชันกลุ่มเรียนรู้ทางโซเชียล (Facebook social learning) ที่ช่วยอำนวยความสะดวกในการอัพโหลดเอกสาร เนื้อหาการเรียนรู้เป็นยูนิต ให้ผู้เรียนสามารถเลือกดาวน์โหลดตามบทเรียนได้ เพื่อให้เกิດการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ.